มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ 9 ด้าน

มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ 9 ด้าน

มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ 9 ด้าน (HS4) ปีงบประมาณ 2566

1. นโยบายการจัดการคุณภาพ
2. กระบวนการคุณภาพ
3. ผลลัพธ์ของการจัดการคุณภาพ
1. แผนพัฒนาและการวางผังโรงพยาบาล
2. ทางเข้า-ออกของโรงพยาบาล
3. ส่วนบริการของโรงพยาบาล
4. ป้ายนำทาง ป้ายจราจร ป้ายชื่อโรงพยาบาล ป้ายชื่ออาคาร
5. ถนนภายในโรงพยาบาล
6. ทางเดินเท้า
7. ทางเดินเชื่อมระหว่างอาคารสำหรับผู้ป่วย
8. ทางลาด สำหรับผู้ป่วย
9. ที่จอดรถยนต์และจักรยานยนต์
10. บริเวณรับ-ส่งผู้ป่วยหน้าอาคาร
11. ห้องน้ำ-ส้วม สำหรับผู้รับบริการ
12. บันไดหนีไฟ *** (รพ.ระดับ F ไม่ต้องประเมิน)
13. งานตกแต่งภายในและเฟอร์นิเจอร์ภายในอาคาร
14. ภูมิทัศน์และสภาพแวดล้อม
15. โครงสร้างอาคาร (ความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร)
16. ระบบไฟฟ้ากำลังล
17. ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง
18. ระบบไฟฟ้าสำรองฉุกเฉิน
19. ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้
20. ระบบป้องกันการเข้า-ออก
21. ระบบป้องกันแรงดันและกระแสเกิน
22. ระบบประปา
23. ระบบระบายน้ำและระบบสุขาภิบาล
24. ลิฟท์ *** (รพ.ระดับ F ไม่ต้องประเมิน)
25. ระบบระบายอากาศและปรับอากาศ่วนบริการของโรงพยาบาล
1. การกำหนดนโยบายและการจัดการสิ่งแวดล้อม
2. การจัดการมูลฝอย (มูลฝอยทั่วไป, มูลฝอยติดเชื้อ, วัสดุและกากของเสียอันตราย)
3. การจัดการน้ำเสีย
4. การจัดการน้ำอุปโภคและบริโภค
5. การจัดการระบบส่องสว่าง
6. การจัดการมลพิษทางเสียง
7.การควบคุมมลพิษทางอากาศ
8. การลดปริมาณของเสีย
9. การจัดการด้านพลังงาน
1. การจัดการด้านความปลอดภัย
2. กฎ ระเบียบ มาตรฐานหรือคู่มือปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการทำงาน
3. การอบรมบุคลากร
4. สภาพแวดล้อม ความปลอดภัยในการทำงานตามปัจจัยเสี่ยงของบุคลากร
5. การจัดการแบบแปลนแผนผังงานระบบวิศวกรรมที่มีความเสี่ยงสูง
6. การตรวจสอบประสิทธิภาพระบบทางวิศวกรรมของห้องที่ให้บริการทางการแพทย์ที่สำคัญ
7. คุณภาพของระบบไฟฟ้า
8. การจัดการระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย
9. ระบบก๊าซทางการแพทย์
10. พื้นที่กำเนิดรังสี
1. การจัดหาและติดตั้งของเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุข
2. การใช้งานและบำรุงรักษาตามรอบเวลาของเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุข
3. ผลการตรวจสอบและบำรุงรักษาตามรอบเวลาของเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุข
4. การซ่อมบำรุงหรือการบำรุงรักษาเชิงแก้ไขของเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุข
5. การยกเลิกการใช้งานเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุข
1. ระบบเรียกพยาบาล
2. ระบบวิทยุคมนาคม
3. ระบบโทรศัพท์
4. ระบบเสียงประกาศ
5. ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด
  •    5.1 มีผู้รับผิดชอบ ด้านระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด
  •      - รายชื่อผู้ดูแลระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด. 
  •    5.2 มีคู่มือการใช้งานระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด
  •      -คู่มือการใช้และเข้าดูระบบกล้องวงจรปิด โรงพยาบาลเก้าเลี้ยว
  •    5.3 มีแผนผังระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดที่เป็นปัจจุบันและมีบัญชีครุภัณฑ์ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด
  •      - ทะเบียนครุภัณฑ์กล้องวงจรปิด 2565 
  •      - ผังแสดงระบบกล้องวงจรปิด 2565
  •    5.4 มีการตรวจสอบระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ให้พร้อมใช้ตลอดเวลา
  •     - แผนดำเนินการตรวจสอบระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด โรงพยาบาลเก้าเลี้ยว 
  •    5.5 มีระบบจ่ายไฟฟ้าสำรอง
  •     - ระบบจ่ายไฟสำรองสำหรับกล่องบันทึกกล้องวงจรปิด 
  •    5.6 มีแผนและประวัติการบำรุงรักษา
  •    5.7 มีห้องควบคุมหลักและมีระเบียบวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการเข้าถึงข้อมูลง
  •     - ห้องควบคุมและขั้นตอนการขอดูไฟล์ข้อมูลย้อนหลัง 
  • 6. ระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูล
    7. ระบบโทรทัศน์ภายใน
    8. ระบบวิศวกรรมในรถพยาบาล
    1. การบริหารจัดการ
    2. กระบวนงานสุขศึกษาในกลุ่มไม่ป่วยเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน
    3. กระบวนการสุขศึกษาในกลุ่มป่วยเพื่อส่งเสริมการจัดการตนเองในผู้ป่วยและญาติ
    4. ผลลัพธ์การดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
    1. โครงสร้างและบทบาท ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
  •   1.1 มีการจัดทีมดูแลระบบสารสนเทศของโรงพยาบาลประกอบด้วยผู้บริหารและฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ
  •      - คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศ
  •      - คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดการความเสี่ยงสารสนเทศ
  •   1.2  มีการจัดทำแผนแม่บทหรือแผนพัฒนาของโรงพยาบาลโดยมีการกำหนดเป้าหมายและแนวทางการพัฒนาและการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศไว้อย่างชัดเจน
  •      - แผนปฎิบัติราชการ ปี 2565
  •      - แผนจัดซื้อวัสดุคอมพิวเตอร์ ปี 2565
  •      - แผนจัดซื้อคุรุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ปี 2565
  •      - แผนเช่าคุรุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ปี 2565
  •   1.3  มีนโยบายและแผนการปฏิบัติด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของโรงพยาบาล
  •      - นโยบายและแนวทางปฏิบัติงานสารสนเทศ
  •   1.4  มีการจัดโครงสร้างและอัตรากำลังของหน่วยงานสารสนเทศของโรงพยาบาลที่เหมาะสม
  •      - บุคลากรเทคโนโลยีสารสนเทศ
  •      - บทบาทหน้าที่ของบุคลากรสารสนเทศ
  •    1.5 มีการกำหนดมาตรฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ ที่จำเป็นสอดคล้องกับมาตรฐานของประเทศหรือมาตรฐานสากล ได้แก่ มาตรฐานข้อมูล มาตรฐานรหัสข้อมูล มาตรฐานการปฏิบัติงาน มาตรฐานความปลอดภัยและความลับของผู้ป่วย มาตรฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มาตรฐานทางกายภาพและสภาพแวดล้อม
  •      - มาตรฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 
  • 2. การจัดการความเสี่ยงในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
  •   2.1 มีกระบวนการประเมินและให้คะแนนความเสี่ยงของระบบสารสนเทศอย่างเป็นระบบ โดยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย
  •      - การให้คะแนนความเสี่ยงของระบบสารสนเทศ
  •    2.2 มีแผนจัดการความเสี่ยงเป็นลายลักษณ์อักษร โดยกำหนดกลยุทธ์โครงการ ระยะเวลาดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ อย่างชัดเจน
  •      - แผนบริหารความเสี่ยงด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
  •    2.3 มีการดำเนินการตามแผนจัดการความเสี่ยง
  •      - การบำรุงรักษาคอมฯ ปี 2565
  •   2.4 มีการติดตาม ประเมินผลการดำเนินการจัดการความเสี่ยง และวิเคราะห์ผลการประเมิน จัดทำเป็นรายงาน
  •      - รายการแจ้งปัญหาความเสี่ยงงาน IT
  •      - แบบวิเคราะห์ จากรายงานความเสี่ยง
  •    2.5 มีการนำผลการประเมินการดำเนินการจัดการความเสี่ยงมาปรับแผนการจัดการความเสี่ยงให้ดีขึ้น
  •      - แบบวิเคราะห์ จากรายงานความเสี่ยง
  • 3. การจัดการความมั่นคงปลอดภัยในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
  •    3.1 มีการจัดทำนโยบายและระเบียบปฏิบัติด้านความมั่นคงปลอดภัยในระบบ IT
  •      - แนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  •      - ระเบียบปฏิบัติในการรักษาความปลอดภัยด้านสารสนเทศ
  •    3.2 มีนโยบายและระเบียบปฏิบัติที่อนุญาตให้เฉพาะผู้ที่รับผิดชอบดูแลรักษาผู้ป่วยในช่วงเวลาปัจจุบันเท่านั้นที่จะเข้าถึงข้อมูลผู้ป่วยรายนั้นได้
  •      - ระเบียบปฏิบัติในการรักษาความปลอดภัยด้านสารสนเทศ
  •    3.3 มีนโยบายและระเบียบปฏิบัติที่ป้องกันความลับผู้ป่วยมิให้รั่วไหลทุกช่องทาง รวมทั้งช่องทาง Social Media ทุกด้าน
  •      - ระเบียบปฏิบัติในการรักษาความปลอดภัยด้านสารสนเทศ
  •    3.4 มีการประชาสัมพันธ์นโยบายและระเบียบปฏิบัติให้บุคลากรทุกคนได้รับทราบ
  •      - แนวทางปฏิบัติในการรักษาความมั่งคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ
  •      - ประชาสัมพันธ์ SMHIS
  •    3.5 มีการตรวจสอบว่าบุคลากรได้รับทราบ เข้าใจ ยอมรับ และปฏิบัติตามระเบียบปฏิบัติด้านความมั่นคงปลอดภัยอย่างเคร่งครัด
  •      - หนังสือเวียนแนวทางปฏิบัติในการรักษาความมั่งคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ
  •    3.6 มีการประเมินผลการปฏิบัติตามระเบียบปฏิบัติและนำผลการประเมินมาปรับกระบวนการบังคับใช้ระเบียบปฏิบัติต่อไป
  •      
  • 4. การจัดการศักยภาพของทรัพยากรในระบบสารสนเทศ
  •   4.1 มีการวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันและ Gap Analysis ของทรัพยากรด้าน Hardware, Software, Network, บุคลากร
  •      - ภาพรวมระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ Cup เก้าเลี้ยว
  •      - ผังเครือข่าย Cup เก้าเลี้ยว
  •      - ระบบ Security Cup เก้าเลี้ยว
  •    4.2 มีการจัดทำแผนเพิ่มหรือจัดการศักยภาพของทรัพยากร ด้าน Hardware, Software, Network
  •      - แผนจัดซื้อวัสดุคอมพิวเตอร์
  •      - แผนจัดซื้อคุรุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
  •      - แผนเช่าคุรุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
  •      - แผนบำรุงรักษา computer
  •    4.3 มีการกำหนดสมรรถนะตามบทบาทหน้าที่ที่จำเป็น (Functional Competency) ของบุคลากรด้าน IT ทุกคน ประเมินสมรรถนะตามบทบาทหน้าที่ และจัดทำแผนเพิ่มสมรรถนะรายบุคคล
  •      - การกำหนดบทบาทหน้าที่ของบุคลากร IT
  •      - แบบสรุปประเมินบุคลากรด้าน IT
  •    4.4 มีการดำเนินการตามแผนเพิ่มสมรรถนะและศักยภาพ (Hardware, software, network) และ มีการประเมิน วิเคราะห์ผลการดำเนินตามแผน
  •      - แผนบำรุงรักษา computer
  •      - แบบสรุปประเมินบุคลากรด้าน IT
  •    4.5 มีการนำผลการวิเคราะห์มาปรับปรุงแผนเพิ่มศักยภาพให้ดีขึ้น
  •      - ทะเบียนวัสดุ คุรุภัณฑ์ คอมพิวเตอร์ รพ.เก้าเลี้ยว
  •      - แบบสรุปประเมินบุคลากรด้าน IT
  • 5. การจัดห้อง Data Center
  •    5.1 มีการจัดการ Data Center ของโรงพยาบาลให้มีความมั่นคงปลอดภัย
  •      - การใช้ห้องแม่ข่ายและการสำรองข้อมูล
  •      - ระบบ Security Cup เก้าเลี้ยว
  •    5.2 ห้อง สถานที่ และสิ่งแวดล้อมต้องจัดให้มีความปลอดภัยจากบุคคลภายนอก
  •      - แบบแปลนห้อง Data Center
  •      - ห้อง Data Center
  •    5.3 มีระบบป้องกันอัคคีภัย ได้แก่ ระบบตรวจจับควัน ระบบเตือนภัย เครื่องดับเพลิงและระบบดับเพลิงอัตโนมัติ
  •      - ห้อง Data Center
  •    5.4 มีระบบป้องกันความเสียหายของข้อมูลและระบบ ซึ่งรวมถึง ระบบไฟฟ้าสำรอง (UPS) ระบบ RAID, Redundant Power supply, Redundant Server
  •      - การใช้ห้องแม่ข่ายและการสำรองข้อมูล
  •    5.5 มีการวิเคราะห์ความเหมาะสม มาตรฐาน ความเสี่ยงและความคุ้มค่าในการเลือกใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เครือข่าย ห้อง Data Center
  •